วันจันทร์ที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

เครือข่ายแพน คืออะไร

เครือข่ายพื้นที่ส่วนบุคคลบลูทูธ (PAN) คืออะไร
เครือข่ายพื้นที่ส่วนบุคคลบลูทูธ (PAN) เป็นเทคโนโลยีหนึ่งที่ทำให้คุณสามารถสร้างเครือข่าย อีเทอร์เน็ต ด้วยการเชื่อมต่อแบบไร้สายระหว่างคอมพิวเตอร์แบบเคลื่อนที่ โทรศัพท์มือถือ และอุปกรณ์แบบพกพาต่างๆ คุณสามารถเชื่อมต่อกับชนิดของอุปกรณ์ที่รองรับบลูทูธซึ่งใช้กับ PAN ได้ดังต่อไปนี้ อุปกรณ์สำหรับผู้ใช้เครือข่ายพื้นที่ส่วนบุคคล (PANU) อุปกรณ์ที่ให้บริการในเครือข่ายเฉพาะกิจแบบกลุ่ม (GN) หรืออุปกรณ์ในจุดเข้าใช้งานเครือข่าย (NAP)
ต่อไปนี้เป็นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการทำงานของอุปกรณ์แต่ละชนิดดังกล่าว

อุปกรณ์ PANU การเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ PANU ที่รองรับบลูทูธจะสร้าง
เครือข่ายเฉพาะกิจ ซึ่งประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ของคุณและอุปกรณ์ดังกล่าว

อุปกรณ์ GN การเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ GN ที่รองรับบลูทูธจะสร้างเครือข่ายเฉพาะกิจซึ่งประกอบด้วยคอมพิวเตอร์ของคุณ อุปกรณ์ GN ดังกล่าว และอุปกรณ์ PANU ใดๆ ที่เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ GN เดียวกัน

อุปกรณ์ NAP การเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ NAP ที่รองรับบลูทูธจะช่วยให้คุณสามารถเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ของ
คุณกับ
เครือข่าย ที่ใหญ่กว่า เช่น เครือข่ายภายในบ้าน เครือข่ายภายในบริษัท หรืออินเทอร์เน็ต
หมายเหตุโทรศัพท์มือถือและเครื่องช่วยงานส่วนบุคคลแบบดิจิทัล (PDA) บางเครื่องสามารถใช้งานได้เฉพาะกับเครือข่ายการเรียกผ่านสายโทรศัพท์ บางเครื่องใช้ได้เฉพาะกับเครือข่าย PAN และบางเครื่องสามารถใช้ได้กับบริการทั้งสองแบบ เมื่อต้องการค้นหาว่าอุปกรณ์ที่รองรับบลูทูธของคุณจะสามารถใช้งานได้กับบริการใด ให้ตรวจสอบข้อมูลที่มากับอุปกรณ์
ขอขอบคุณ

วันอังคารที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

ประเภทของระบบเครือข่าย

ประเภทของระบบเครือข่าย


เครือข่ายคอมพิวเตอร์ จำแนกตามขนาดและระยะทางการใช้งานได้ 3 ประเภทดังนี้


1. Local Area Network (LAN)

คือเครือข่ายคอมพิวเตอร์ท้องถิ่นเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ซึ่งเชื่อมโยง คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารที่อยู่ในท้องที่ บริเวณเดียวกันเข้าด้วยกัน เช่น ภายในอาคาร หรือภายในองค์การที่มีระยะทางไม่ไกลมากนักเครือข่ายแลนจัดได้ว่าเป็นเครือ ข่ายเฉพาะขององค์การการสร้างเครือข่ายแลนนี้องค์การสามารถดำเนินการทำเองได้ โดยวางสายสัญญาณสื่อสารภายในอาคาร หรือภายในพื้นที่ข
องตนเอง เครือข่ายแลน มีตั้งแต่เครือข่าย ขนาดเล็กที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไปภายใน ห้องเดียวกันจนเชื่อมโยงระหว่างห้อง หรือองค์การขนาดใหญ่เช่นมหาวิทยาลัยมีการวางเครือข่ายที่่ี่เชื่อมโยง ระหว่างอาคารภายในมหาวิทยาลัยเครือข่ายแลนจึงเป็นเครือข่ายที่รับผิดชอบโดย องค์การที่เป็นเจ้าของ
ลักษณะสำคัญ ของเครือข่ายแลนคืออุปกรณ์ที่ประกอบภายในเครือข่ายสามารถรับส่งสัญญาณ กันด้วยความเร็วสูงมาก โดยทั่วไปมีความเร็วตั้งแต่หลายสิบล้านบิตต่อวินาที จนถึงร้อยล้านบิต ต่อวินาทีการสื่อสารในระยะใกล้จะมี ีควา
มเร็วในการสื่อสารสูง ทำให้การรับส่งข้อมูลมีความผิดพลาด น้อยและสามารถรับส่ง ข้อมูลจำนวนมากในเวลาจำกัดได้ LAN







2. Metropolitan Area Network (MAN)
เป็น เครือข่ายขนาดกลาง ใช้งานภายในเมือง หรือจังหวัดใกล้เคียง ซึ่งคอมพิวเตอร์ที่นำมา เชื่อมโยงกัน อาจจะมีการวางโครงสร้างที่
ต่างกันก็ได้



3. Wide Area Network (WAN)

เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะไกลเช่น เชื่อมโยง
ระหว่างจังหวัด ระหว่างประเทศการสร้างเครือข่ายระยะไกล จึงต้องอาศัยระบบบริการ

ข่ายสายสาธารณะ เช่น สายวงจรเช่าจากองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย
หรือ จากการสื่อสารแห่งประเทศไทย ใช้วงจรสื่อสารผ่านดาวเทียม ใช้วงจรสื่อสารเฉพาะกิจ ที่มีให้บริการแบบสาธารณะ เครือข่ายแวน จึงเป็นเครือข่าย ที่ใช้กับองค์การที่มีสาขาห่างไกล และต้องการเชื่อมสาขาเหล่านั้นเข้าด้วยกัน เช่น ธนาคารมีสาขาทั่วประเทศ มีบริการ รับฝากเงินผ่านตู้เอทีเอ็มเครือข่ายแวนเชื่อมโยงระยะไกลมากจึงมีความเร็วใน การสื่อสารจึงไม่สูง เนื่องจาก มีสัญญาณรบกวนในสาย และการเชื่อมโยงระยะไกลจำเป็นต้องใช้เทคนิค
พิเศษ ใน การลดปัญหาข้อผิดพลาดของ การรับส่งข้อมูล เครือข่ายแวน เป็นเครือข่
ายที่ทำให้เครือข่ายแลนหลายๆ เครือข่ายเชื่อมถึงกันได ้เช่นที่ทำการสาขาทุกแห่ง ของธนาคารแห่งหนึ่งมีเครือข่ายแลนเพื่อใช้ทำงานภายในสาขานั้นๆ
และมีการเชื่อมโยงเครือข่ายแลน ของทุกสาขาให้เป็นระบบเดียวด้วยเครือข่ายแวน
ในอนาคต อันใกล้นี้ บทบาทของเครือข่ายแวนจะทำให้ทุกบริษัททุกองค์การ
ทุกหน่วยงาน เชื่อมโยงเครือข่าย คอมพิวเตอร์ของตนเองเข้าสู่เครือข่ายกลาง เพื่อการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน
แล ะการทำงานร่วมกันในระบบที่ต้องติดต่อสื่อสารระหว่างกันเทคโนโลยีที่ใช้กับเครือข่ายแวนมีีความหลากหลายมีการเชื่อมโยง
ระหว่างประเทศด้วยช่องสัญญาณดาวเทียมเส้นใยนำแสงคลื่นไมโครเวฟ
คลื่น วิทยุสายเคเบิลทั้งที่วางตามถนนและวางใต้น้ำ เทคโนโลยีของการเชื่อมโยงได้รับการพัฒนาไปมากแต่ยังไม่พอเพียงกับความต้อง การที่เพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว



คอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์รับ-ส่ง ข้อมูลที่ประกอบกันเป็นเครือข่าย มีการเชื่อมโยงถึงกันในรูปแบบต่างๆ ตามความเหมาะสม เทคโนโลยีการอออกแบบเชื่อมโยงนี้เรียกว่า รูปร่างเครือข่าย (network topology) เมื่อพิจารณาการต่อเชื่อมโยงถึงกันของอุปกรณ์สำนักงานซึ่งใช้งานที่ต่าง ๆ หากต้องการเชื่อมต่อถึงกันโดยตรง จะต้องใช้สายเชื่อมโยงมาก

ขอขอบคุณ*-* http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=compe&month=09-2007&date=17&group=3&gblog=1



วันพุธที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

สื่อที่ใช้ในการส่งข้อมูลแบบไร้สาย







สื่อที่ใช้ในดารส่งข้อมูลแบบไร้สาย



การสื่อสารข้อมูลแบบไร้สาย จะใช้อากาศเป็นตัวกลางของการสื่อสาร เช่น



แสงอินฟราเรด (Infrared) เป็นการสื่อสารข้อมูลโดยใช้แสงอินฟราเรดเป็นสื่อกลาง การสื่อสารประเภทนี้นิยมใช้สำหรับการสือสารข้อมูลระยะใกล้ เช่น การสื่อการจากรีโมทคอนโทรลไปยังเครื่องรับวิทยุหรือโทรทัศน์







สัญญาณวิทยุ (Radio Wave) เป็นสื่อนำข้อมูลแบบไร้สาย (Wireless Media) ที่มีการส่งข้อมูลเป็นสัญญาณคลื่อนวิทยุไปในอากาศไปยังตัวรับสัญญาณ











ไมโครเวฟภาคพื้นดิน (Terrestrial Microwave) เป็นการสื่อสารไรสายอีกประเภทหนึ่ง การสื่อสารประเภทนี้จะมีเสาส่งสัญญาณไมโครเวฟที่อยู่ห่างๆ กัน ทำการส่งข้อมูลไปในอากาศไปยังเสารับข้อมูล







การสื่อสารผ่านดาวเทียม (Satellite Communication) เป็นการสื่อสารจากพื้นโลกที่มีการส่งสัญญาณข้อมูลไปยังดาวเทียม โดยดาวเทียมจะทำหน้าที่เป็นสถานีทวนสัญญาณ เพื่อจัดส่งสัญญาณต่อไปยังสถานีภาพพื้นดินอื่นๆ ระยะทางจะโลกถึงดาวเทียมประมาณ 22,000 ไมล์


สื่อที่ใช้ในการส่งข้อมูลแบบมีสาย



สื่อที่ใช้ในการส่งข้อมูลแบบมีสาย



สื่อข้อมูลแบบมีสายที่นิยมใช้มี 3 ชนิดดังนี้




- สายคู่บิดเกลียว (Twisted-Pair Cable)
สายคู่บิดเกลียว เป็นสายสัญญาณนำข้อมูลไฟฟ้า สายแต่ละเส้นมีลักษณะคล้ายสายไฟทั่วไป จำนวนสายจะมีเป็นคู่ เช่น 2 , 4 หรือ 6 เส้น แต่ละคู่จะมีพันบิดเกลียว การบิดเกลียวนี้จะช่วยลดสัญญาณรบกวนที่เกิดขึ้นในการส่งข้อมูล ทำให้สามารถส่งข้อมูลได้ไกลกว่าปกติ








- สายโคแอกเชียล (Coaxial Cable)

สายโคแอกเชียล เป็นสายสัญญาณนำข้อมูลไฟฟ้า มีความถี่ในการส่งข้อมูลประมาณ 100 MHz ถึง500 MHz สายโคแอกเชียลมีความมเร็วในการส่งข้อมูลและราคาสูงกว่าสายบิดเกลียว





- สายใยแก้วนำแสง(Optical Fiber Cable)

สายสัญญาณทำจากใยแก้วหรือสารนำแสงหุ้มด้วยวัสดุป้องกันแสง มีความเร็วในการส่งสูงกับความเร็วแสง สามารถใช้ในการส่งข้อมูลที่มีความถี่สูงได้ สัญญาณที่ส่งผ่านสายใยแก้วนำแสง คือ แสง และ สัญญาณรบกวนจากภายนอกมีเพียงอย่างเดียว คือ แสงจากภายนอก















นี้คือคำตอบที่คุณอยากรู้เกี่ยวกับการ์ดแลน

การ์ดแลนมีกี่ชนิดอะไรบ้าง




การ์แลนมี 2 ชนิดคือ









1. PCI LAN Card


























2. ISA LAN Card